Home
Databases
ฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด
Inhouse Databases
ฐานข้อมูลดรรชนีบทความวารสาร และเอกสาร
ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย (UCTAL)
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
สื่อการเรียนการสอน ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอาเซียน (ASEAN Community)
e-Journals
e-Books
e-Theses
e-News
Trial Databases
Services
Contents
News & Updates
ข่าวประชาสัมพันธ์
สารสนเทศน่ารู้
Event Calendar
Ask a Librarian
About Us
ข้อมูลห้องสมุดวิทยาเขตบางนา
Contact
โครงสร้างการบริหารงาน
การบริหารงานระบบคุณภาพ ISO 9001
Calendar
RU Library
Home
Databases
ฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด
Inhouse Databases
ฐานข้อมูลดรรชนีบทความวารสาร และเอกสาร
ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย (UCTAL)
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
สื่อการเรียนการสอน ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอาเซียน (ASEAN Community)
e-Journals
e-Books
e-Theses
e-News
Trial Databases
Services
Contents
News & Updates
ข่าวประชาสัมพันธ์
สารสนเทศน่ารู้
Event Calendar
Ask a Librarian
About Us
ข้อมูลห้องสมุดวิทยาเขตบางนา
Contact
โครงสร้างการบริหารงาน
การบริหารงานระบบคุณภาพ ISO 9001
information
Tag
03
May
ไทยซอส รสชาติแห่งภูมิปัญญา : เกลือ กำเนิดแห่งรสชาติ
03/05/2022
By
bangna
information
salt
Read More
02
May
ไทยซอส รสชาติแห่งภูมิปัญญา : ปลาร้า รสไทยยืนหนึ่ง
02/05/2022
By
bangna
information
pickled-fish1 pickled-fish2 pickled-fish3
Read More
29
Apr
ไทยซอส รสชาติแห่งภูมิปัญญา : น้ำปู เอกลักษณ์รสชาติแห่งล้านนา
29/04/2022
By
bangna
information
ในช่วงฤดูฝนเมื่อต้นข้าวเริ่มแทงยอดอ่อน ในช่วงประมาณเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม ปูนาจะพากันออกมา ตามท้องนากันอย่างชุกชุม ชาวบ้านในภาคเหนือต่างนิยมจับมาบริโภค เมื่อจับได้ในปริมาณมากจนรับประทานไม่ทัน จึงได้มีการนำมาแปรรูปถนอมอาหารทำเป็นเครื่องปรุงรส ที่เรียกกันว่า “น้ำปู” หรือ “น้ำปู๋” ตามการออกเสียงใน ภาษาเหนือ โดยหน้าตาของน้ำปูจะคล้ายกะปิแต่มีสีดำ ซึ่งมีกลิ่นและรสชาติที่แตกต่างอย่างมีเอกลักษณ์ กระบวนการสำคัญในการผลิตน้ำปูคือ ล้าง ปั่น กรอง หมัก และเคี่ยว แม้จะใช้เวลาในการผลิตไม่นานเมื่อเทียบกับการผลิตน้ำปลา กะปิ บูดู และปลาร้า เนื่องจากน้ำปูไม่ต้องใช้เวลาในการหมักที่ยาวนาน แต่ก็ต้องใช้ความอดทน ในแต่ละขั้นตอนในกระบวนการผลิต เริ่มตั้งแต่การออกไปจับปูนากลางแดดร้อน ๆ ซึ่งควรเลือกวันที่แดดจัด เพราะ ยิ่งแดดร้อนปูนาจะยิ่งออกมามาก สามารถใช้ปูนาได้ทุกขนาด แต่ขนาดที่เหมาะกับการผลิตน้ำปูควรมีขนาดกลาง ๆ ซึ่งให้กากน้อยและให้ความหอมมันกว่าปูตัวใหญ่และปูที่ตัวเล็ก หากต้องการผลิตน้ำปูให้ได้ 1 กิโลกรัม ต้องใช้ปู 7 – 10 กิโลกรัม ขั้นตอนการผลิตจะเริ่มจาก 1. ล้างปูให้สะอาด โดยแช่น้ำทิ้งสักพักไว้ก่อนทำความสะอาดให้ปราศจากโคลนและสิ่งปลอมปน ต้องใช้ปูที่มีชีวิตเท่านั้นในการผลิต หากเป็นปูที่ตายมาแล้วจะทำให้น้ำปูที่ได้มีกลิ่นไม่พึงประสงค์และเก็บได้ไม่นานนัก 2. นำตะไคร้...
Read More
28
Apr
ไทยซอส รสชาติแห่งภูมิปัญญา : บูดู มนตรารสพื้นถิ่นใต้
28/04/2022
By
bangna
information
อาชีพประมงในวิถีชีวิตของคนไทยในภาคใต้ริมฝั่งทะเล นับว่าเป็นอาชีพหลักสำคัญอันหนึ่งของประชากรไทย การทำประมงมักมีการนำวัตถุดิบหรือนำผลผลิตที่หาได้มาแปรรูปเพื่อเป็นการถนอมอาหาร เช่น การนำปลาที่เหลือจากการบริโภคและจำหน่าย มาผ่านขั้นตอนกระบวนการถนอมอาหารออกมาเป็น น้ำบูดู ซึ่งเป็นน้ำปรุงรสเค็มสำหรับประกอบอาหาร อันให้รสชาติและกลิ่นที่เป็นเอกลักษณ์ จนกระทั่งกลายผลิตภัณฑ์แห่งวัฒนธรรมทางอาหารประเภทหนึ่งโดยเฉพาะในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ คำว่า บูดู ไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนถึงที่มาของคำ แต่พอจะรวบรวมถึงความเป็นไปได้จากหลายทาง คือ 1. อาจมาจากชื่อของอุปกรณ์จับปลาตัวใหญ่ที่ชื่อ “บูบู๊” ในภาษาท้องถิ่น ปลาตัวใหญ่นี้เรียก “ปลาฆอ” แต่ต่อมามีการเปลี่ยนเป็นใช้ปลาตัวเล็กเช่นปลากะตัก และคำที่ใช้เรียกออกเสียงเป็น บูดู 2. บูดู เป็นคำที่มาจากภาษายาวี หรือมลายู แต่ไม่สามารถระบุถึงความหมายได้ 3. บูดู มาจากภาษาอินโดนิเซีย ที่หมายถึง ปลาหมักดอง จากเรื่องราวประวัติศาสตร์การอพยพของชาวเมืองฮาวอ อินโดนิเซีย จากการถูกรุกราน ระหว่างรอนแรมได้มีการนำปลาที่จับได้มาหมักดองเพื่อเป็นเสบียง และเมื่อขึ้นฝั่ง ณ ที่ตำบล ปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี การผลิตปลาหมักดองนี้จึงได้แพร่หลายในพื้นที่ น้ำบูดูจึงได้กลายเป็นผลิตภัณฑ์ขึ้นชื่อของอำเภอสายบุรี มาแต่บัดนั้น ในการผลิตน้ำบูดูจะใช้วัตถุดิบหลักเพียงสองอย่าง คือ ปลา และ เกลือ โดยนิยมใช้ปลา 2 ส่วนต่อเกลือ...
Read More
26
Apr
ไทยซอส รสชาติแห่งภูมิปัญญา : กะปิ รสทิพย์ตำรับไทย
26/04/2022
By
bangna
information
กะปิ (shrimp paste/shrimp sauce) เครื่องปรุงรสที่นิยมไปทั่วในประเทศทางเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ซึ่งอาจใช้วัตถุดิบหรือมีกรรมวิธีแตกต่างกันไปบ้างในแต่ละประเทศ อาทิ พม่า มาเลเซีย อินโดนีเซีย ลาว และโดยเฉพาะประเทศไทย อาจเนื่องด้วยมีลักษณะธรรมชาติทางภูมิศาสตร์ และการเป็นสังคมเกษตรกรรม จึงทำให้วิถีทางวัฒนธรรมมีความคล้ายกัน ชื่อของ กะปิ บางตำราสันนิษฐานว่ามาจากคำว่า “งาปิ๊” ในภาษาพม่าอันหมายถึงปลาหมัก สำหรับในประเทศไทย กะปิ นับได้ว่าเป็นหัวใจหลักสำคัญในการประกอบอาหารไม่ว่าจะเป็นน้ำพริก หรือในแกงต่าง ๆ ซึ่งหากมีกะปิผสมอยู่จะเป็นตัวช่วยชูรสชาติและกลิ่นของอาหารนั้นให้มีความหนัก เข้มข้น หอม และอร่อยอย่างมีเอกลักษณ์ วัตถุดิบในการทำกะปิจะใช้ได้ทั้งปลา กุ้ง และเคย (สัตว์น้ำในวงศ์พวกกุ้ง ลักษณะคล้ายกันมาก) กุ้งฝอยน้ำจืด สามารถแบ่งกะปิออกได้เป็น 2 ประเภทตามลักษณะของเนื้อกะปิ คือ กะปิเหลว (liquid kapi) ที่มีลักษณะเนื้อเหลว มีความข้นหนืดประมาณซอสมะเขือเทศ และกะปิแห้ง (dry kapi) มีลักษณะเนื้อหนึบ เหนียว แน่น ที่มักพบเห็นได้ตามท้องตลาดทั่วไปในบ้านเรา นอกจากแบ่งประเภทตามลักษณะเนื้อของกะปิแล้ว ยังสามารถ แบ่งตามคุณลักษณะที่นำไปประกอบเมนูต่าง ๆ ...
Read More
25
Apr
ไทยซอส รสชาติแห่งภูมิปัญญา : น้ำปลา รสแท้คู่ครัวไทย
25/04/2022
By
bangna
information
คนไทยแต่ครั้งอดีตนิยมใช้เกลือเป็นหลักในการปรุงรสอาหาร ต่อมาเมื่อได้มีการถนอมอาหารโดยนำสัตว์น้ำกับเกลือหมักเคล้ากัน เช่น ปลาร้า กะปิ และในระหว่างขั้นตอนการผลิตยังได้น้ำรสเค็มที่มาจากการหมักนั้น มาใช้ปรุงรสเค็มได้อีกโดยนำมาใช้ปรุงรสในลักษณะของน้ำปลา แต่จากแหล่งอ้างอิงถึงเรื่องราวประวัติความเป็นมาของการผลิตน้ำปลาในประเทศไทยนั้นมาจากชาวจีนที่เข้ามาประกอบอาชีพ เป็นผู้ริเริ่มผลิตและนำออกจำหน่ายโดยมักบรรจุลงไห มีการผนึกปากไหและมีตรายี่ห้อสินค้าสลักบนไหอย่างดี ซึ่งปัจจุบันไหน้ำปลาได้กลายเป็นของเก่าสะสมที่มีมูลค่าอยู่พอควร การทำน้ำปลาสามารถใช้ปลาทะเล เช่น ปลากะตัก ปลาหลังเขียว และปลาน้ำจืด เช่นปลาสร้อย ปลาซิว หรือใช้สัตว์อื่นแทนปลา เช่น หอย ปู กุ้ง โดยใช้เกลือเป็นส่วนประกอบหลัก แต่โดยทั่วไปปลากระตัก เป็นปลาที่นิยมนำมาผลิตน้ำปลา เราสามารถแบ่งประเภทของน้ำปลาได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. น้ำปลาแท้ คือน้ำปลา ที่ได้จากการหมักปลาตามกรรมวิธีผลิตน้ำปลา 2. น้ำปลาจากสัตว์อื่น คือน้ำปลาที่มีการใช้สัตว์อื่นในการหมักแทนการใช้ปลา โดยอาจมีน้ำปลาแท้ผสมอยู่หรือ ไม่มีก็ได้ 3. น้ำปลาผสม คือน้ำปลาที่มีการระเหยน้ำออกไป หรือน้ำปลาตามข้อ 1 และ 2 ที่มีการผสมสิ่งปรุงแต่งสี รสและกลิ่น โดยใช้สารที่ไม่เป็นอันตราย กรรมวิธีการผลิตน้ำปลา หลักขั้นตอนสำคัญคือการล้าง หมัก กรอง ซึ่งกรรมวิธีการผลิตทั่วไปจะเริ่มด้วย ...
Read More
11
Apr
สงกรานต์ Festival
11/04/2022
By
bangna
information
songkran-65-1 songkran-65-2 songkran-65-3
Read More
29
Mar
บอนสี : ราชินีแห่งใบไม้
29/03/2022
By
bangna
information
bonsee-1 bonsee-2 bonsee-3 bonsee-4 bonsee-5
Read More
08
Mar
international women’s day วันสตรีสากล
08/03/2022
By
bangna
information
Women-Day-1 Women-Day-2 Women-Day-3 Women-Day-4
Read More
03
Mar
METAVERSE จักรวาลนฤมิต
03/03/2022
By
bangna
information
Metaverse
Read More
1
…
4
5
6
7
Recent Posts
เวลาเปิด-ปิด การให้บริการประจำเดือนมกราคม 2568
SUGAR BLUES ภาวะเสพติดน้ำตาล อาการติดกินหวาน
ต้มยำกุ้ง Soft Power อาหารของไทย
มาทำความรู้จักเนื้อผ้าแบบต่างๆกันเถอะ
เวลาเปิด-ปิด การให้บริการประจำเดือนธันวาคม 2567
Recent Comments
Archives
December 2024
November 2024
October 2024
September 2024
August 2024
July 2024
June 2024
May 2024
April 2024
March 2024
February 2024
January 2024
December 2023
November 2023
October 2023
September 2023
August 2023
July 2023
June 2023
May 2023
April 2023
March 2023
February 2023
January 2023
December 2022
November 2022
October 2022
September 2022
August 2022
July 2022
June 2022
May 2022
April 2022
March 2022
February 2022
January 2022
December 2021
October 2021
Categories
advertise
Clip Tutorial
information
recommended book
Meta
Log in
Entries feed
Comments feed
WordPress.org
Recent Comments