Home
Databases
ฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด
Inhouse Databases
ฐานข้อมูลดรรชนีบทความวารสาร และเอกสาร
ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย (UCTAL)
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
สื่อการเรียนการสอน ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอาเซียน (ASEAN Community)
e-Journals
e-Books
e-Theses
e-News
Trial Databases
Services
Contents
News & Updates
ข่าวประชาสัมพันธ์
สารสนเทศน่ารู้
Event Calendar
Ask a Librarian
About Us
ข้อมูลห้องสมุดวิทยาเขตบางนา
Contact
โครงสร้างการบริหารงาน
การบริหารงานระบบคุณภาพ ISO 9001
Calendar
RU Library
Home
Databases
ฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด
Inhouse Databases
ฐานข้อมูลดรรชนีบทความวารสาร และเอกสาร
ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย (UCTAL)
ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ และงานวิจัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
สื่อการเรียนการสอน ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับอาเซียน (ASEAN Community)
e-Journals
e-Books
e-Theses
e-News
Trial Databases
Services
Contents
News & Updates
ข่าวประชาสัมพันธ์
สารสนเทศน่ารู้
Event Calendar
Ask a Librarian
About Us
ข้อมูลห้องสมุดวิทยาเขตบางนา
Contact
โครงสร้างการบริหารงาน
การบริหารงานระบบคุณภาพ ISO 9001
April 29, 2022
Day
29
Apr
ไทยซอส รสชาติแห่งภูมิปัญญา : น้ำปู เอกลักษณ์รสชาติแห่งล้านนา
29/04/2022
By
bangna
information
ในช่วงฤดูฝนเมื่อต้นข้าวเริ่มแทงยอดอ่อน ในช่วงประมาณเดือนกรกฎาคม – สิงหาคม ปูนาจะพากันออกมา ตามท้องนากันอย่างชุกชุม ชาวบ้านในภาคเหนือต่างนิยมจับมาบริโภค เมื่อจับได้ในปริมาณมากจนรับประทานไม่ทัน จึงได้มีการนำมาแปรรูปถนอมอาหารทำเป็นเครื่องปรุงรส ที่เรียกกันว่า “น้ำปู” หรือ “น้ำปู๋” ตามการออกเสียงใน ภาษาเหนือ โดยหน้าตาของน้ำปูจะคล้ายกะปิแต่มีสีดำ ซึ่งมีกลิ่นและรสชาติที่แตกต่างอย่างมีเอกลักษณ์ กระบวนการสำคัญในการผลิตน้ำปูคือ ล้าง ปั่น กรอง หมัก และเคี่ยว แม้จะใช้เวลาในการผลิตไม่นานเมื่อเทียบกับการผลิตน้ำปลา กะปิ บูดู และปลาร้า เนื่องจากน้ำปูไม่ต้องใช้เวลาในการหมักที่ยาวนาน แต่ก็ต้องใช้ความอดทน ในแต่ละขั้นตอนในกระบวนการผลิต เริ่มตั้งแต่การออกไปจับปูนากลางแดดร้อน ๆ ซึ่งควรเลือกวันที่แดดจัด เพราะ ยิ่งแดดร้อนปูนาจะยิ่งออกมามาก สามารถใช้ปูนาได้ทุกขนาด แต่ขนาดที่เหมาะกับการผลิตน้ำปูควรมีขนาดกลาง ๆ ซึ่งให้กากน้อยและให้ความหอมมันกว่าปูตัวใหญ่และปูที่ตัวเล็ก หากต้องการผลิตน้ำปูให้ได้ 1 กิโลกรัม ต้องใช้ปู 7 – 10 กิโลกรัม ขั้นตอนการผลิตจะเริ่มจาก 1. ล้างปูให้สะอาด โดยแช่น้ำทิ้งสักพักไว้ก่อนทำความสะอาดให้ปราศจากโคลนและสิ่งปลอมปน ต้องใช้ปูที่มีชีวิตเท่านั้นในการผลิต หากเป็นปูที่ตายมาแล้วจะทำให้น้ำปูที่ได้มีกลิ่นไม่พึงประสงค์และเก็บได้ไม่นานนัก 2. นำตะไคร้...
Read More
Recent Posts
เวลาเปิด-ปิด การให้บริการประจำเดือนมกราคม 2568
SUGAR BLUES ภาวะเสพติดน้ำตาล อาการติดกินหวาน
ต้มยำกุ้ง Soft Power อาหารของไทย
มาทำความรู้จักเนื้อผ้าแบบต่างๆกันเถอะ
เวลาเปิด-ปิด การให้บริการประจำเดือนธันวาคม 2567
Recent Comments
Archives
December 2024
November 2024
October 2024
September 2024
August 2024
July 2024
June 2024
May 2024
April 2024
March 2024
February 2024
January 2024
December 2023
November 2023
October 2023
September 2023
August 2023
July 2023
June 2023
May 2023
April 2023
March 2023
February 2023
January 2023
December 2022
November 2022
October 2022
September 2022
August 2022
July 2022
June 2022
May 2022
April 2022
March 2022
February 2022
January 2022
December 2021
October 2021
Categories
advertise
Clip Tutorial
information
recommended book
Meta
Log in
Entries feed
Comments feed
WordPress.org
Recent Comments